กำหนดการ

ประชากรและความยั่งยืน: ประเด็นสำคัญทางนโยบาย (Population and Sustainability: Key Policy Highlight)

กำหนดการ

วัน-เวลา กิจกรรม
08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียน
09.00 – 09.15 น. กล่าวต้อนรับและกล่าวรายงาน
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมพล แจ่มจันทร์
ผู้อนวยการสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
  กล่าวเปิดการประชุม
ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง มไหสวริยะ
อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล
09.30 – 10.00 น. ปาฐกถาพิเศษ หัวข้อ
“อารยธรรมบนทางสองแพร่ง : ความยั่งยืนกับอนาคตของมนุษยชาติ”
(Civilization at the Crossroads: Sustainability & Our Human Future)
โดย ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
10.00 – 10.50 น.

เสวนาโต๊ะกลม หัวข้อ “การพัฒนาที่ยั่งยืนกับนโยบายประชากรและสังคม”  โดย
1. รองศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมพล แจ่มจันทร์ ผู้อำนวยการ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม
2. คุณวรวรรณ พลิคามิน รองเลขาธิการ สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชล บุนนาค ผู้อำนวยการ ศูนย์วิจัยและสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG Move)
4. คุณพร้อมบุญ พานิชภักดิ์ เลขาธิการมูลนิธิรักษ์ไทย

ผู้ดำเนินรายการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กนกวรรณ ธราวรรณ
11.00 – 12.00 น.

การพัฒนาที่ยั่งยืนในมิติด้านการเกิด เด็ก และครอบครัว

  1. แนวคิด “ปั๊มลูกเพื่อชาติ” กับความเป็นไปได้ในการส่งเสริมการเกิดในสังคมไทย: ข้อเรียนรู้จากอดีตและบทเรียนจากนานาชาติ: โดย คุณนิธิพัฒน์ ประสาทกุล
  2. เพิ่มเกิดหรือชะลอแก่? แนวทางแก้ปัญหาสังคมสูงอายุอย่างยั่งยืน: โดย รองศาสตราจารย์ ดร.มนสิการ กาญจนะจิตรา
  3. เด็กกำพร้าจากโควิด-19 ในประเทศไทย: โดย รองศาสตราจารย์ ดร.จงจิตต์ ฤทธิรงค์
  4. Future Scenarios for Thai Families in 2040: โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ภูเบศร์ สมุทรจักร
ผู้ดำเนินรายการ รองศาสตราจารย์ ดร.จรัมพร โห้ลำยอง
12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 13.30 น. Poster presentation
13.30-14.30 น.

การพัฒนาที่ยั่งยืนในมิติด้านสุขภาพ อาหาร และสิ่งแวดล้อม

  1. การตลาดอาหารและเครื่องดื่มที่ให้พลังงานสูงส่งผลต่อการกินของเด็กไทยในกรุงเทพฯ อย่างไร: โดย อาจารย์ ดร.นงนุช จินดารัตนาภรณ์
  2. การยกระดับนโยบายและการดำเนินการเกี่ยวกับอาหารสตรีทฟู้ดเพื่อส่งเสริมการบริโภคอาหารที่ดีต่อสุขภาพของประชากรไทย: โดย ดร.วีรภาคย์ ซำศิริพงษ์
  3. ประชากรไทยกับพฤติกรรมการเคลื่อนไหวตลอด 24 ชั่วโมง: โดย อาจารย์ ดร.นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์
  4. Drivers of water pollution in the Mae Klong river basin and institutional barriers to effective water quality management in Thailand: By Associate Professor Dr. Marc Voelker
  5. กลไกการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เพื่อการพัฒนาอาชีพประมงพื้นบ้านจังหวัดประจวบคีรีขันธ์: โดย อาจารย์ ดร.บุรเทพ โชคธนานุกูล
ผู้ดำเนินรายการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พจนา หันจางสิทธิ์
14.45 – 15.45 น.

การพัฒนาที่ยั่งยืนในมิติด้านการย้ายถิ่นของประชากรต่างอารยธรรม

  1. New trends of Russian-speaking migration and the formation of a Russian-speaking economy in Southeast Asian countries: By Lecturer Dr.Sergey Ryazantsev
  2. ก้าวย่างในความยาก: ความเข้มแข็งทางจิตใจและกลวิธีการรับมือของผู้ย้ายถิ่นกลับจากมาเลเซียของชาวไทยมุสลิมสามจังหวัดภาคใต้ในระหว่างการระบาดของโควิด-19: โดย รองศาสตราจารย์ ดร.อารี จำปากลาย
  3. นโยบายการทดแทนประชากร ตามบทพลิกกลับของทฤษฎีการตอบโต้หลายทางของคิงสลีย์ เดวิส : โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.อภิชาติ จำรัสฤทธิรงค์
ผู้ดำเนินรายการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สักกรินทร์ นิยมศิลป์
16.00 น. สรุปและปิดการประชุม
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ศุทธิดา ชวนวัน ประธานจัดการประชุมฯ

 

กำหนดการ

พิธีกร

ปิยกฤตา
ดร. ปิยกฤตา แก้วพิกุล

นักวิจัยหลังปริญญาเอก
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล

รัตนา
รัตนา ด้วยดี

นักศึกษาปริญญาเอก
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล